อุราวะแห่ง J1 คว้าแชมป์สองสมัยซ้อน!
อุราวะประสบความสำเร็จในด้านการบริหารธุรกิจถึง 2 สมัยซ้อน
ภาพโดย: โทคุฮาระ ทาคาโมโตะ
วันที่ 28 กันยายนที่ผ่านมา ทาง Deloitte Tohmatsu Financial Advisaory ได้ประกาศผลถ้วยรางวัลการบริหารทีมเจลีคครั้งที่ 4 ประจำฤดูกาล 2017 ออกมา ผู้ที่ได้รางวัลอันดับหนึ่งของแต่ละลีคได้แก่ J1 คือทีมอุราวะ J2 คือทีมนาโกยะ และ J3 คือทีมคาโกะชิมะ
การจัดอันดับในครั้งนี้อ้างอิงจากข้อมูลงบด้านการเงินของทางเจลีคที่ประกาศออกมาในกรกฏาคม 2018 โดยจะแบ่งเป็น 4 หมวดหมู่ได้แก่ "การตลาด" "ประสิทธิภาพการบริหาร" "กลยุทธ์ด้านการบริหาร" "สภาพการเงิน" ซึ่งจะมีรายละเอียดดังนี้
การตลาด: ยอดคนเข้าชมการแข่งขัน, อัตราส่วนผู้ชมในสนาม, อัตราผู้เข้าชมหน้าใหม่, ค่าใช้จ่ายเฉลี่ยของลูกค้าแต่ละคน
ประสิทธิภาพการบริหาร: งบที่สโมสรใช้เพื่อทำ 1 คะแนน, รายได้จากการเข้าชมเกมต่อหนึ่งหน่วยคะแนน
กลยุทธ์ด้านการบริหาร: อัตราค่าจ้างนักเตะ ค่าซื้อขายตัวนักเตะ, จำนวนผู้ติดตามใน Social Network, อัตราการเพิ่มจำนวนของผู้ติดตามใน Social Network, กำไรที่ได้จากการขายสินค้า
สภาพการเงิน: ยอดขาย, อัตราเติบโตของยอดขาย, อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วน
ส่วนทีมที่บริหารได้อย่างยอดเยี่ยมเป็นครั้งที่ 3 ต่อเนื่องในปีที่สองอย่างอุราวะนั้น ในด้านการตลาดได้ที่ 8 ด้านประสิทธิภาพในการบริหารได้ที่ 6 และด้านกลยุทธ์กับสภาพการเงินเป็นอันดับหนึ่ง สิ่งที่เป็นปัจจัยในแง่บวกได้แก่ จำนวนผู้เข้าชมการแข่งขันเจลีค, เงินสนับสนุนจากสปอนเซอร์, ยอดขายสินค้า และแนวทางในการสร้างกลยุทธ์ที่จะเรียกผู้ชมหน้าใหม่ให้เข้ามาชมการแข่งขันในสนามมากขึ้น
ทั้งหมดทั้งปวงนั้นคือสิ่งที่นำมาประเมินค่าในการวัดเหล่านี้
ส่วนงบที่สโมสรใช้เพื่อทำ 1 คะแนนนั้น เอามาคำนวณกับยอดรวมของค่าซื้อตั๋วเข้าชมในสนามกลายเป็นส่วนของ "ประสิทธิภาพด้านการบริหาร" ไป ซึ่งสโมสรเซนไดได้ที่ 1 โดยที่เซนไดเอาชนะซัปโปโรและโยโกฮามะแค่ 1 คะแนนเท่านั้น ซึ่งจัดเป็นสโมสรที่จัดได้ว่าลงทุนและได้ผลตอบแทนอย่างคุ้มค่าที่สุดนั่นเอง
ในส่วนของทีมคาชิวะนั้น หากเทียบกับสโมสรอื่นแล้วต่างกันถึงสามเท่าเลยก็ว่าได้
การจัดอันดับในครั้งนี้อ้างอิงจากข้อมูลงบด้านการเงินของทางเจลีคที่ประกาศออกมาในกรกฏาคม 2018 โดยจะแบ่งเป็น 4 หมวดหมู่ได้แก่ "การตลาด" "ประสิทธิภาพการบริหาร" "กลยุทธ์ด้านการบริหาร" "สภาพการเงิน" ซึ่งจะมีรายละเอียดดังนี้
การตลาด: ยอดคนเข้าชมการแข่งขัน, อัตราส่วนผู้ชมในสนาม, อัตราผู้เข้าชมหน้าใหม่, ค่าใช้จ่ายเฉลี่ยของลูกค้าแต่ละคน
ประสิทธิภาพการบริหาร: งบที่สโมสรใช้เพื่อทำ 1 คะแนน, รายได้จากการเข้าชมเกมต่อหนึ่งหน่วยคะแนน
กลยุทธ์ด้านการบริหาร: อัตราค่าจ้างนักเตะ ค่าซื้อขายตัวนักเตะ, จำนวนผู้ติดตามใน Social Network, อัตราการเพิ่มจำนวนของผู้ติดตามใน Social Network, กำไรที่ได้จากการขายสินค้า
สภาพการเงิน: ยอดขาย, อัตราเติบโตของยอดขาย, อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วน
ส่วนทีมที่บริหารได้อย่างยอดเยี่ยมเป็นครั้งที่ 3 ต่อเนื่องในปีที่สองอย่างอุราวะนั้น ในด้านการตลาดได้ที่ 8 ด้านประสิทธิภาพในการบริหารได้ที่ 6 และด้านกลยุทธ์กับสภาพการเงินเป็นอันดับหนึ่ง สิ่งที่เป็นปัจจัยในแง่บวกได้แก่ จำนวนผู้เข้าชมการแข่งขันเจลีค, เงินสนับสนุนจากสปอนเซอร์, ยอดขายสินค้า และแนวทางในการสร้างกลยุทธ์ที่จะเรียกผู้ชมหน้าใหม่ให้เข้ามาชมการแข่งขันในสนามมากขึ้น
ทั้งหมดทั้งปวงนั้นคือสิ่งที่นำมาประเมินค่าในการวัดเหล่านี้
ส่วนงบที่สโมสรใช้เพื่อทำ 1 คะแนนนั้น เอามาคำนวณกับยอดรวมของค่าซื้อตั๋วเข้าชมในสนามกลายเป็นส่วนของ "ประสิทธิภาพด้านการบริหาร" ไป ซึ่งสโมสรเซนไดได้ที่ 1 โดยที่เซนไดเอาชนะซัปโปโรและโยโกฮามะแค่ 1 คะแนนเท่านั้น ซึ่งจัดเป็นสโมสรที่จัดได้ว่าลงทุนและได้ผลตอบแทนอย่างคุ้มค่าที่สุดนั่นเอง
ในส่วนของทีมคาชิวะนั้น หากเทียบกับสโมสรอื่นแล้วต่างกันถึงสามเท่าเลยก็ว่าได้
อันดับของสโมสรใน J1 เป็นอังนี้
※ เรียงลำดับดังนี้ อันดับ, ชื่อสโมสร, คะแนนรวม, คะแนนแขนงต่าง ๆ ( การตลาด / ประสิทธิภาพการบริหาร / กลยุทธ์ด้านการบริหาร / สภาพการเงิน )
1 อุราวะ 181(45/21/70/45)
2 คาวาซากิ 166(53/22/49/42)
3 คาชิมะ 158(49/18/57/34)
4 อิวาตะ 154(52/20/49/33)
5 โยโกฮามะ 153(46/25/59/23)
6 ชิมิซึ 137(46/20/41/30)
7 C OSAKA 135(52/17/35/31)
8 FC TOKYO 134(41/21/37/35)
9 G OSAKA 132(47/21/40/24)
10 เซนได 126(42/26/35/23)
11 ซัปโปโร 118(25/25/39/29)
12 ฮิโรชิมะ 104(21/17/42/24)
13 โกเบ 103(34/6/28/35)
14 โทสุ 101(37/16/25/23)
15 นีกาตะ 92(23/23/31/15)
16 คาชิวะ 91(35/11/14/31)
17 โคฟุ 73(16/20/18/19)
18 โอมิยะ 70(22/13/17/18)
※คะแนนเต็มคือ 234 คะแนน
※ เรียงลำดับดังนี้ อันดับ, ชื่อสโมสร, คะแนนรวม, คะแนนแขนงต่าง ๆ ( การตลาด / ประสิทธิภาพการบริหาร / กลยุทธ์ด้านการบริหาร / สภาพการเงิน )
1 อุราวะ 181(45/21/70/45)
2 คาวาซากิ 166(53/22/49/42)
3 คาชิมะ 158(49/18/57/34)
4 อิวาตะ 154(52/20/49/33)
5 โยโกฮามะ 153(46/25/59/23)
6 ชิมิซึ 137(46/20/41/30)
7 C OSAKA 135(52/17/35/31)
8 FC TOKYO 134(41/21/37/35)
9 G OSAKA 132(47/21/40/24)
10 เซนได 126(42/26/35/23)
11 ซัปโปโร 118(25/25/39/29)
12 ฮิโรชิมะ 104(21/17/42/24)
13 โกเบ 103(34/6/28/35)
14 โทสุ 101(37/16/25/23)
15 นีกาตะ 92(23/23/31/15)
16 คาชิวะ 91(35/11/14/31)
17 โคฟุ 73(16/20/18/19)
18 โอมิยะ 70(22/13/17/18)
※คะแนนเต็มคือ 234 คะแนน